บันทึกการเรียนครั้งที่2
วันศุกร์ที่ 13 มกราคม 2560
ในสัปดาห์นี้เป็นการเรียนการสอน ครั้งแรกของรายวิชานี้ อาจารย์ได้ให้นักศึกษานำชีท ที่อาจารย์แจกมาเพื่อเรียน แจกใบรายวิชา และแจกใบปั้มการมาเรียน
อาจารย์ได้ทบทวนความรู้เดิมในเรื่องของเด็กพิเศษ
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ
(Children with special needs)
(Children with special needs)
เด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
(Early Childhood with special needs)
(Early Childhood with special needs)
ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
1.ทางการแพทย์
มักจะเรียกเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่า "เด็กพิการ"
=เด็กที่มีความผิดปกติ มีความบกพร่อง สูญเสีย สมรรถภาพ อาจเป็นความผิดปกติ ความบกพร่องทางกาย การสูญเสียสมรรถภาพทางสติปัญญา ทางจิตใจ
1.ทางการแพทย์
มักจะเรียกเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่า "เด็กพิการ"
=เด็กที่มีความผิดปกติ มีความบกพร่อง สูญเสีย สมรรถภาพ อาจเป็นความผิดปกติ ความบกพร่องทางกาย การสูญเสียสมรรถภาพทางสติปัญญา ทางจิตใจ
2 ทางการศึกษา
ให้ความหมายเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่าหมายถึง
=เด็กที่มีความต้องการทางการศึกษาเฉพาะของตัวเอง ซึ่งจำเป็นต้องจัดการศึกษาให้ต่างไปจากเด็กปกติทางด้านเนื้อหา หลักสูตร กระบวนการที่ใช้ และการประเมินผล
ให้ความหมายเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่าหมายถึง
=เด็กที่มีความต้องการทางการศึกษาเฉพาะของตัวเอง ซึ่งจำเป็นต้องจัดการศึกษาให้ต่างไปจากเด็กปกติทางด้านเนื้อหา หลักสูตร กระบวนการที่ใช้ และการประเมินผล
อาจสรุปได้ว่า
-เด็กที่แตกต่าง
-เด็กที่ไม่อาจพัฒนาความสามารถได้เท่าที่ควรจากการให้การช่วยเหลือ และการสอนปกติ (ถ้ามีคนช่วยเหลือก็สามารถพัฒนาได้)
-มีสาเหตุจากสภาพความบกพร่องทางร่างกาย สติปัญญา และอารมณ์
-จำเป็นต้องได้รับการกระตุ้น ช่วยเหลือ การบำบัด และฟื้นฟู
-จัดการเรียนการสอนที่เหมาะกับลักษณะและความต้องการของเด็กแต่ละบุคคล
-เด็กที่แตกต่าง
-เด็กที่ไม่อาจพัฒนาความสามารถได้เท่าที่ควรจากการให้การช่วยเหลือ และการสอนปกติ (ถ้ามีคนช่วยเหลือก็สามารถพัฒนาได้)
-มีสาเหตุจากสภาพความบกพร่องทางร่างกาย สติปัญญา และอารมณ์
-จำเป็นต้องได้รับการกระตุ้น ช่วยเหลือ การบำบัด และฟื้นฟู
-จัดการเรียนการสอนที่เหมาะกับลักษณะและความต้องการของเด็กแต่ละบุคคล
คำศัพท์
All Children Can Learn
เด็กทุกคนสามารถเรียนมาก
All Children Can Learn
เด็กทุกคนสามารถเรียนมาก
พฤติกรรมและพัฒนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
พัฒนาการ
-การเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะต่างๆรวมทั้งตัวบุคคล
-ทำให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
-การเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะต่างๆรวมทั้งตัวบุคคล
-ทำให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
-เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติในวัยเดียวกัน
-พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียงด้านใดด้านหนึ่ง หลายด้านหรือทุกด้าน
-พัฒนาการล่าช้าในด้านใดด้านหนึ่ง อาจส่งผลให้พัฒนาการในด้านอื่นล่าช้าด้วยก็ได้
-เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติในวัยเดียวกัน
-พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียงด้านใดด้านหนึ่ง หลายด้านหรือทุกด้าน
-พัฒนาการล่าช้าในด้านใดด้านหนึ่ง อาจส่งผลให้พัฒนาการในด้านอื่นล่าช้าด้วยก็ได้
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก
-ปัจจัยทางด้านชีวภาพ(ร่างกาย)
-ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด(ตอนอยู่ในครรภ์)
-ปัจจัยด้านกระบวนการคลอด(ระหว่างคลอด)
-ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด (ครอบครัวส่งผลมาก)
-ปัจจัยทางด้านชีวภาพ(ร่างกาย)
-ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด(ตอนอยู่ในครรภ์)
-ปัจจัยด้านกระบวนการคลอด(ระหว่างคลอด)
-ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด (ครอบครัวส่งผลมาก)
สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
1.พันธุกรรม
เลี่ยงไม่ได้
-เด็กจะมีพัฒนาการล่าช้ามาแต่เกิด หรือสังเกตได้ชั่วระยะไม่นานหลังเกิด มักมีลักษณะผิดปกติแต่กำเนิดร่วมด้วย
โรคปากแหว่งเพดานโหว่ Cleft/Cleft Palate
จะมีปัญหาด้านการพูดหากไม่รักษาแต่กำเนิด
รักษาด้วยการผ่าตัดและการเย็บ
ควรรักษาตั้งแต่ทารก ถ้ารักษาล่าช้าปากจะเบี้ยวได้
โรคผิวเผือกAlbinism
ตัวขาว ตาออกสีแดง
เกิดจากไม่มีเม็ดสี
ไม่มีเม็ดสีเมลานิน ทำให้ไม่มีสารป้องกันผิวหนังจากแสงแดด
แสบเมื่อโดนแสง
เสี่ยงเป็นมะเร็งผิวหนัง
ตัวขาว ตาออกสีแดง
เกิดจากไม่มีเม็ดสี
ไม่มีเม็ดสีเมลานิน ทำให้ไม่มีสารป้องกันผิวหนังจากแสงแดด
แสบเมื่อโดนแสง
เสี่ยงเป็นมะเร็งผิวหนัง
โรคท้าวแสนปมNeurofibromatosis .
อาการจะมีตุ่มขึ้นทุกที่ตามผิวหนัง ยิ่งอายุมากตุ่มยิ่งเยอะ ตุ่มจะไม่ทำให้เกิดอาการเจ็บ รักษาได้แต่ไม่หาย
การสังเกตอาการ
1.ปานสีกาแฟใส่นมอย่างน้อย 6 ตำแหน่ง
2.พบก้อนเนื้อตามผิวหนัง 2 ตุ่มขึ้นไป
3.พบกระที่รักแร้ หรือขาหนีบ
4.พบเนื้องอกของเส้นประสาทตา
5.พบเนื้องอกของม่านตา 2 แห่งขึ้นไป
6.พบความผิดปกติของกระดูก
7.มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคนี้
โรคธารัสซีเมีย
เม็ดเลือดแดงแตกง่าย
สังเกตจาก
-ซีด
-ตัวเหลือง ตาเหลือง
-ตับโต ม้ามโต
-แคระแกรน
-หน้าตาอาจเปลี่ยนแปลง
-จมูกแบน ฝันเหยิน ท้องป่อง
-ร่างกายเติบโตช้ากว่าปกติ
-กระดูกเปราะง่าย
เวลาเหนื่อนจะเป็นลม
2.โรคของระบบประสาท
-เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการส่วนใหญ่มักมีอาการหรืออาการทางระบบประสาทร่วมด้วย
-ที่พบบ่อยคืออาการชัก
-เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการส่วนใหญ่มักมีอาการหรืออาการทางระบบประสาทร่วมด้วย
-ที่พบบ่อยคืออาการชัก
*เกิดจากการทำงานของเส้นประสาทส่งกระแสประสาทผิดปกติ
3.การติดเชื้อ
-การติดเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์ น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย ศีรษะเล็กกว่าปกติ อาจมีตับม้ามไต การได้ยินบกพร่อว ต้อกระจก
-นอกจากนี้การติดเชื้อรุนแรงภายหลังเกิด เช่น สมองอักเสบ เยื้อหุ้มสมองอักเสบ เป็นสาเหตุที่พบได้บ้าง
-การติดเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์ น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย ศีรษะเล็กกว่าปกติ อาจมีตับม้ามไต การได้ยินบกพร่อว ต้อกระจก
-นอกจากนี้การติดเชื้อรุนแรงภายหลังเกิด เช่น สมองอักเสบ เยื้อหุ้มสมองอักเสบ เป็นสาเหตุที่พบได้บ้าง
4.ความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม(ระบบฮอร์โมน)
-โรคที่ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขไทย คือ ไทรอยด์ฮอร์โมน ในเลือดต่ำ
อาการ
-หนาวง่าย
-เหนื่อยง่าย
-ผิวหนังแห้ง ลอกง่าย
-ผมแห้ง
-ซึม ขี้หลงขี้ลืม
-ท้องผูก
*รักษาได้แต่ไม่หายขาด ต้องมารับยาสม่ำเสมอ
-โรคที่ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขไทย คือ ไทรอยด์ฮอร์โมน ในเลือดต่ำ
อาการ
-หนาวง่าย
-เหนื่อยง่าย
-ผิวหนังแห้ง ลอกง่าย
-ผมแห้ง
-ซึม ขี้หลงขี้ลืม
-ท้องผูก
*รักษาได้แต่ไม่หายขาด ต้องมารับยาสม่ำเสมอ
5.ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด
-การเกิดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย และภาวะขาดออกซิเจน
เช่น คลอดก่อนกำหนด
รกพันคอ
ดูดน้ำคล่ำออกจากจมูกไม่ทัน
-การเกิดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย และภาวะขาดออกซิเจน
เช่น คลอดก่อนกำหนด
รกพันคอ
ดูดน้ำคล่ำออกจากจมูกไม่ทัน
6.สารเคมี
-ตะกั่วเป็นสารที่มีผลกระทบต่อเด็กและมีการศึกษามากที่สุด
-มีอาการซึมเศร้า เคลื่อนไหวช้า ผิวดำหมองคล้ำเป็นจุดๆ
-ภาวะตับเป็นพิษ
-ระดับสติปัญญาต่ำ
-มีอาการซึมเศร้า เคลื่อนไหวช้า ผิวดำหมองคล้ำเป็นจุดๆ
-ภาวะตับเป็นพิษ
-ระดับสติปัญญาต่ำ
-น้ำหนักแรกเกิดน้อย ตัวเล็ก
-มีอัตราการเพิ่มน้ำหนักหลังเกิดน้อย ศีรษะเล็ก
-พัฒนาการของสติปัญญาก็มีความบกพร่อง
-เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
-มีอัตราการเพิ่มน้ำหนักหลังเกิดน้อย ศีรษะเล็ก
-พัฒนาการของสติปัญญาก็มีความบกพร่อง
-เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
โรคFetal alcohol syndrome ,FAS
-ช่องตาสั้น
-ร่องริมฝีปากบนเรียบ
-ริมฝีปากบนยาวและบาง
-หนังคลุมหัวตามาก
-จมูกแบน
-ปลายจมูกเชิดขึ้น
-น้ำหนักแรกเกิดน้อย ขาดสารอาหารในระยะตั้งครรภ์
-เพิ่มอัตราการตายในวัยทารก
-สติปัญญาบกพร่อง
-สมาธิสั้น พฤติกรรมก้าวร้าว มีปัญหาด้านการเข้าสังคม
7. การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม รวมทั้งการขาดสารอาหาร
8. สาเหตุอื่นๆ (อุบัติเหตุ)
อาการของเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
-มีพัฒนาการล่าช้าซึ่งอาจจะพบมากกว่า 1 ด้าน
-ปฏิกิริยาสะท้อน (primitive reflex) ไม่หายไป
แม้จะถึงช่วงอายุที่ควรจะหายไป
การประเมินที่ใช้ในเวชปฏิบัติ
-แบบทดสอบ Denver II
-Gesell Drawing Test
-แบบประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิด - 5 ปี สถาบันราชานุกูล
การนำไปประยุกต์ใช้
-สามารถนำความรู้ที่ได้เรียนในวันนี้ไปเป็นข้อมูลในการศึกษาเรื่องของเด็กพิเศษเพิ่มขึ้น เพราะในอนาคตข้างหน้าหากเป็นครูเรา เราอาจจะต้องมีโอกาสจัดการศึกษาแบบเรียนรวม จะได้รู้ว่าเด็กแต่ละคนเป็นเด็กพิเศษหรือเปล่า เพื่อจะได้จัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
การประเมิน
ตนเอง-ตั้งใจเรียนดีมาก มีชีทมาเรียน จดทุกครั้งที่อาจารย์ได้สอน มีความเข้าใจและสนุกไปกับการเรียน
เพื่อน-มาเรียนตรงต่อเวลา เรียบร้อย ตั้งใจเรียน ไม่พูดคุยเล่นกัน
อาจารย์-ตรงต่อเวลา แต่งกายเหมาะสม มีเทคนิคการสอนที่ดี ทำให้การเรียนไม่น่าเบื่อ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น