วันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 10

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่  10
วันศุกร์ที่ 10 มีนาคม 2560


เนื้อหาการเรียนรู้




ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
8.เด็กที่บกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ 
- มีความรู้สึกนึกคิดที่ผิดไปจากปกติ
- แสดงออกถึงความต้องการทำร้ายตนเองหรือผู้อื่น
- มีความเชื่อมั่นในตนเองต่ำ
- เด็กที่มีการควบคุมอารมณ์ให้อยู่ในสภาพปกตินานๆ ไม่ได้
- ลักษณะของเด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
     
การจำแนกเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ ตามกลุ่มอาการ
1.ด้านความประพฤติ (Conduct Disorders)
2.ด้านความตั้งใจและสมาธิ (Attention and Concentration)
3.สมาธิสั้น (Attention Deficit)
     - มีลักษณะกระวนกระวาย ไม่สามารถนั่งนิ่งๆ ได้หยุกหยิกไปมา
     - พูดคุยตลอดเวลา มักรบกวนหรือเรียกร้องความสนใจจากผู้อื่น
     - มีทักษะการจัดการในระดับต่ำ
4.การถอนตัวหรือล้มเลิก (Withdrawal)
5.ความผิดปกติในการทำงานของร่างกาย(Function Disorder)
- ภาวะความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ระดับรุนแรง
     - ขาดเหตุผลในการคิด
     - อาการหลงผิด (Delusion)
     - อาการประสาทหลอน (Hallucination)
     - พฤติกรรมการทำร้ายตัวเอง

สาเหตุการเกิด
- ปัจจัยทางชีวภาพ (Biology)
- ปัจจัยทางจิตสังคม (Psychosocial)
- ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อเด็ก
- ไม่สามารถเรียนหนังสือได้เช่นเด็กปกติ
- รักษาความสัมพันธ์กับเพื่อนหรือกับครูไม่ได้
- มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เมื่อเทียบกับเด็กในวัยเดียวกัน
- มีความคับข้องใจ มีความเก็บกดอารมณ์
- แสดงอาการทางร่างกาย เช่น ปวดศีรษะ ปวดตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
- มีความหวาดกลัว
- เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรม ซึ่งจัดว่ามีความรุนแรงมาก
- เด็กสมาธิสั้น (Children with Attention Deficit and Hyperactivity Disorders)
- เด็กออทิสติก (Autistic) หรือ ออทิสซึ่ม (Autisum)

เด็กสมาธิสั้น(Children with Attention Deficit Hyperactivity Disorders) เป็นภาวะผิดปกติทางจิตเวชมีลักษณะเด่นอยู่ 3 ประการ
     1.Inattentiveness (สมาธิสั้น)
     2.Hyperactivity (ซนอยู่ไม่นิ่ง)
     3.Impulsiveness (หุนหันพลันแล่น)

สาเหตุ
      ความผิดปกติของสารเคมีบางชนิดในสมอง
เช่น โดปามีน (dopamine) นอร์อิพิเนฟริน (norepinephrine)
      ความผิดปกติในการทำงานของวงจรที่ควบคุมสมาธิ และการตื่นตัวอยู่ที่สมองส่วนหน้า (frontal cortex)
      พันธุกรรมสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ











โดยพฤติกรรมของเด็กอาจารย์ได้นำตัวอย่างน้องที่เป็นสามธิสั้นมาให้ดู และพูดคุยถึงปัญหาของน้อง


9.เด็กพิการซ้อน
- เด็กที่มีความบกพร่องที่มากกว่าหนึ่งอย่างเป็นเหตุให้เกิดปัญหาขัดข้องในการเรียนรู้อย่างมาก
- เด็กปัญญาอ่อนที่สูญเสียการได้ยิน
- เด็กปัญญาอ่อนที่ตาบอด
- เด็กที่ทั้งหูหนวกและตาบอด



การนำไปประยุกต์ใช้
-สามรถนำไปประยุกต์ใช้กับเด็กพิเศษที่ต้องมีการเขียนแผนการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเด็กได้

การประเมิน
ตนเอง-เข้าใจในการสอนของอาจารย์
เพื่อน-ตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียน แต่งกายเรียบร้อย 
อาจารย์-แต่งกายเหมาะสม สุภาพ สอนได้เข้าใจ มีการให้นศ มีส่วนร่วมในการเรียน 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น